บทความ

Syntax #Functions

Functions ฟังก์ชั่น ก็เหมือนกับกลุ่มคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยจะแบ่งเป็น ฟังก์ช้่นระบบ กับ ฟังก์ชั่นที่เขียนขึ้นเอง  ฟังก์ชั่นในระบบตัวอย่างที่เห็นได้ชั่น และเจอบ่อย ๆ func _ready (): pass func _process ( delta ): pass func _fixed_process ( delta ): pass รูปแบบการสร้างฟังก์ชั่น func ชื่อฟังก์ชั่น (ตัวแปร,ตัวแปรn?): (TAB) pass เช่น  func helloworld(): (TAB) print('helloworld') func _ready():         helloworld()         helloworld() รูปแบบการพิมพ์ฟังก์ชั่นของ GDScript จะไม่มีเครื่องหมายปิดและเปิดเหมือนโปรแกรมอื่น ยกตัวอย่าง  #php  function helloworld() {      echo "helloworld"; } ดังนั่นการกด (TAB) ย่อหน้าจะเป็นการบอกถึงข้อมูลที่อยู่ในฟังก์ชั่นนั่น ๆ หรือในเงือนไขนั่น ๆ เช่น 1) func helloworld (text): 2) (TAB) if(text!=""): 3) (TAB)(TAB) print(text) 4) func profile () 5) (TAB) print('sittichai') 6) (TAB) print(20) บรรทัด 1

Godot GDScript Hello World!! #1

รูปภาพ
Hello World ตอนที่ 1         มาลองเขียนอะไรเล่น ด้วย GDScript กัน ให้สร้างโปรเจคใหม่เพื่อทดสอบ GDScript  จากนั่นให้สร้าง โหนด Node2D แล้วทำการเปลี่ยนชื่อ World จากนั่นให้ทำการเชื่อม Node กับ Script เข้าด้วยกัน  โดยการคลิกขวาที่ Node World  เลือก Attach Script *** สามารถบันทึก script รวมกับตัว scene ได้โดยเลือก ตัวอย่าง ในส่วนของ Built-In Script off เปลี่ยนเป็น On จะทำการฝัง script เข้ากับตัว scene ตัวอย่าง กรณีที่ไม่ได้กำหนดจะทำการให้ตั้งชื่อลงในส่วนของ path ทำการตั้งชื่อไฟล์ res://helloworld.gd  กด Create extends Node2D  เป็นการนำคุญสมบัติของ Node2D เข้ามาใช้หรืออ้างอิง func _ready(): จะเป็นฟังก์ชั่น ที่ทำงานเมื่อเริ่มเกม pass จะเป็นคำสั่งฟรี กรณีนึกอะไรไม่ออกหรือเขียนอะไรไม่ได้ ก็ให้ pass ไว้ก่อน  เพราะการที่เขียนฟังก์ชั่นแล้วไม่มีอะไรใน ฟังก์ชั่นจะทำให้ Error การประกาศตัวแปร  var text='Hello world' แสดงข้อความด้วย print(string) func _ready():       print(text) *** เมื่อทดสอบ Run โปร

Godot Export Android (Linux)

รูปภาพ
Export Android (Linux) เมื่อเราติดตั้ง Template ในการ export เรียบร้อย ในส่วนของ android ต้องทำการติดตั้งเพิ่มเติมในส่วนของ SDK ให้ดาว์นโหลดตามนี้ เลยครับ  https://developer.android.com/studio/index.html ให้ทำการติดตั้งให้เรียบร้อย Linux  ทำการแตกไฟล์ ที่ Download มา  ของผมจะแตกไฟล์ ไว้ที่ตำแหน่ง  /home/sit/Android/android-studio ทำการติดตั้ง JDK sudo apt-get install openjdk-8-jre sudo apt-get install adb Config เพิ่มเติมใน godot เปิด godot แล้วไปที่เมนู Export เมื่อคลิกที่ Android จะพบว่ามี ! แจ้งเตือนด้านล่างในส่วนที่ขาดไป  ADB คือให้ระบุข้อมูลของไฟล์ adb   ระบุตำแหน่งของไฟล์ JDK JAVA  เพิ่ม debug keystore ให้เข้าที่เมนู Settings/Editor Setting  เลือกรายการ Android จะพบข้อมูลให้ Config  ADB :  /usr/bin/adb Jarsigner : /home/sit/Android/android-studio/jre/bin/jarsigner Debug Keystore : /home/sit/Android/debug.keystore โดยการสร้าง Debug Keysote ใช้คำสั่งตามด่านล่างได้เลย keytool - keyalg RSA -

Game Spacecraft Preview

รูปภาพ
Spacecraft Preview สวัสดีครับ จากที่ผมได้ศึกษาฝึกพื้นฐาน ก็เกิดเครื่องร้อนขึ้นมา (ยังศึกษาพื้นฐานไม่ครบ) ก็ตัดบททำเกมเลยได้ออกมาพอใจเหมือนกันทำให้รู้ว่า godot มันยอดจริง ๆ  ตอนที่สร้างเกม ก็ยังนึกไม่ออกมาจะสร้างออกมาแนว ๆ ไหน ตอนแรก ก็วาดรูปยาน และศัตรู แบบง่าย ๆ จากนัั้นผมก็ลองสร้าง ทีละขั้นตอน  ภาพตัวละครที่วาดเอง และไปหยิบจากทีื่อื่นอย่างละนิดอย่างละหน่อย แยกไฟล์งานตามชนิด ช่วยให้หาไฟล์ได้ง่าย ไฟล์ Scene ต่าง ๆ ที่สร้าง ไฟล์ GDScript  โดยผมก็นึกว่าผมต้องทำอะไรก่อน ค่อย ๆ ไปที่ล่ะอย่าง  หาวิธีทำให้ยานหรือตัวละครของเราเคลื่อนไหวให้ได้ ก็หยิบยกตัวอย่างจากที่อื่น ๆ มาเขียนดู จริงค่อนข้างจะคล้ายกันในเรื่องการเขียน code เคลื่อนไหว ทำให้กดแล้วปล่อยกระสุน ปรับในเรื่องออกฉาก โดนวัตถุ สร้างศัตรู แบบง่าย ๆ ให้โดนกระสุนแล้วตาย หรือโดนตัวผู้เล่น จากนั่นลองปรับให้มีการเคลื่อนไหว ที่แตกต่าง ๆ เพิ่มฉาก ตอนแรกผมก็จะสร้างฉากเป็นด่าน ๆ แต่เลิกล้มเพราะ น่าจะเยอะเลยจะเอาแค่ ฉากเดียว แล้วเขียน Random ข้อมูลศัตรูต่าง ๆ เอาแทนในฉากเดียว โดยใช้ level บังคั

Godot เบื้องต้น Sprites

รูปภาพ
Sprites สไปรท์ คือรูปภาพต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในเกม เช่น ภาพตัวละคร ภาพต้นไม้ อาคาร หรือจะเป็นภาพท่าทางเคลื่อนไหว ต่าง ๆ ภาพสไปรท์ที่ค้นหาจาก google ทดสอบสไปรท์ มาลองเอาสไปรท์เข้าไปยังโปรเจคเกม ให้สร้างโปรเจคใหม่ ชื่อ sprites1   *** ผมจะใส่ภาพประกอบน้อยลง เพราะผู้ฝึกทุกท่านน่าจะมีพื้นฐานจากบทความก่อนหน้ามาแล้ว *** เมื่อเข้าสู่ Editor จะมี สไปรท์1 อันแถบมาด้วย ก็คือ icon ของ godot นั่นเอง  มีส่วนขยายเป็น .png   การนำสไปรท์เข้าสู่เกมหรือนำไปใช้งาน มีด้วยกันตามวิธีที่ผมทดสอบ ภาพโปรเจค sprites1 ก่อนอื่นเลยให้สร้าง root โหนดก่อนครับ  เพิ่มโหนด node2D   ทำการเปลี่ยนชื่อเป็น player คลิกเลือกโหนด player  คลิกที่ ภาพที่ต้องการ ลากลงไปในฉาก ถ้าต้องการเปลี่ยนชนิดด้วย กด Alt แล้วปล่อยเมาว์ที่คลิกไว้  สามารถกำหนดชนิดของโหนดสไปรท์ สร้างโหนด sprite ที่ต้องการ  ตัวอย่างการกำหนด สไปรท์ ไปที่ Inspector Texture เลือก Load และกำหนดไปที่ ภาพ (icon.png)  เราก็จะได้ภาพตัวละคร จากข้อ 2 สามารถลาก ภาพมาวางในช่อง Texture ของ sprite ได้เลย  ความพยายาม

Godot GDScript Syntax #ตัวแปร

รูปภาพ
Syntax มาดู syntax ของ GDScript กันหน่อย ถ้ามีพื้นฐานของ Python อยู่แล้ว ก็สบายครับ อย่างที่อธิบายไปก่อนหน้า  GDScript ได้ยืมรูปแบบมาจาก Python ครับ  ชนิดของตัวแปร GDScript การประการตัวแปร ไม่จำเป็นต้องกำหนดชนิดครับ ทำให้เราไม่ต้องมาคิดว่าเป็นชนิดอะไร ถึงจะเป็นแบบนั่น ผมคิดว่าเราก็จำเป็นที่ต้องรู้ชนิดของตัวแปรในแต่ละประเภท  String (ข้อความ) จะอยู่ในเครื่องหมาย "ข้อความ" var spriteName = "Hero" Integer (ตัวเลข) var age = 25 Float (ตัวเลขทศนิยม) var money = 100.30 Array (อาร์เรย์) ข้อมูลหลายประเภทที่ประกอบกันเป็น ชุด ๆ  var month = ['January','February','March','April'] Dictionary (พจนานุกรม) var person = {'name':"Robert",'age':25}  Boolean (จริง,เท็จ) var cool = true var cool = false การกำหนดตัวแปร การกำหนดตัวแปรทั่วไป var ชื่อตัวแปร = ข้อมูล var name = "Robert" ซึ่งเมื่อกำหนดแล้วต้องการเปลี่ยนค่า  name

Godot เบื้องต้น เมนูไทย

รูปภาพ
ตั้งค่าแสดงเมนูภาษาไทย ตัวอย่างแสดงเมนูภาษาไทย เมนูเป็นภาษาไทยแล้ว วิธีการตั้งค่าเมนูเป็นภาษไทย ให้ทำดังนี้ เมื่อเข้าสู่โปรแกรม ไปคลิกที่ Settings อยู่ด้านขวาบน เลือก Editor Settings  เลือก Settings /Editor Settings มีภาษาไทยด้วย ปรับเปลี่ยนเสร็จให้ปิดเปิดโปรแกรมใหม่ คนที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในโลก คือคนที่พบเจอความผิดพลาดและความล้มเหลวมามากกว่าคนอื่น